กรมอุตุเตื อน37 จังหวัด เตรี ยมรับมือพ ายุฝนถ ล่ม ลมกระโช กแ รง

กรมอุตุนิยมวิทย า ร ายงานแผนที่แสดงพื้นที่เสี่ ย งภั ยฝนฟ้าคะนอง และลมกระโชกแ รง

วันที่ 21 พฤษภาคม 2564 โดยจังหวัดที่เป็นพื้นที่เสี่ ย ง ได้แก่

แม่ฮ่องสอน, เชียงให ม่, พะเย า, ลำปาง, ลำพูน, ตาก, สุโขทัย,

นครสวรรค์, เพชรบูรณ์, พิษณุโลก, เลย, ชัยภูมิ, ขอนแก่น,

หนองบัวลำภู, อุดรธานี, สกลนคร, บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร,

อุบลร าชธานี, ศรีสะเกษ, สุรินทร์, บุรีรัมย์, นครร าชสีมา, นครนายก,

สระแก้ว, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, ตร าด, อุทัยธานี, ชัยนาท,

สุพรรณบุรี, กาญจนบุรี, ร าชบุรี, สมุทรสงคร าม และสมุทรสาคร

ด้วยในช่วงวันที่ 17 – 18 พฤษภาคม 2564 มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน

ประเทศไทย และอ่าวไทย ลักษณะเช่ นนี้ทำให้บริเว ณประเทศไทยมีฝนฟ้าคะนอง

กับมีฝนตกหนักบ างแห่งบริเว ณภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนคลื่นลมบริเว ณทะเลอันดามัน

และอ่าวไทยมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร บริเ วณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร

ส่วนในช่วงวันที่ 19 – 23 พฤษภาคม 2564 มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเล

อันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย มีกำลังแ รงขึ้น ทำให้ประเทศไทยมีฝนเพิ่มมากขึ้น

และมีฝนตกหนักบ างแห่ง ส่วนคลื่นลมบริเว ณทะเลอันดามันและอ่าวไทยจะมีกำลังแ รงขึ้น

โดยบริเ วณทะเลอันดามันคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร ส่วนบริเว ณอ่าวไทยคลื่นสูง 1-2 เมตร

บริเว ณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า

ขอให้ประชาช นบริเว ณบริเว ณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง

ภาคตะวันออก และภาคใต้ระวังอันตร ายจากฝนที่ตกหนักไว้ด้วย

สำหรับชาวเรือบริเว ณทะเลอันดามันและอ่าวไทย ควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือบริเว ณที่มีฝนฟ้าคะนอง