มีร ายงานว่า เมื่อ วันที่ 19 พฤษภาคม 2564 ที่ผ่านมา นายสุพันธ์ุ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (สอท.)
เปิ ดเผ ยว่า จากสถ านการณ์ cv ระลอกเดือนเมษายน ที่ส่งผลกระทบต่อเศ รษฐกิจในประเทศและมีแนวโน้มมากกว่า 3 เดือน
ส่งผลให้การฟื้นตัวของเศร ษฐกิจไทยช้ากว่าเดิม ตั้งแต่ในช่วงไตรมาส 2 และไตรมาส 3
โดยที่ประชุมคณะกรรมการร่วมภาคเอกช น 3 สถ าบัน (กกร.) จึงมีมติปรับลดประมาณการเศร ษฐกิจไทยปี 2564
เป็นขย ายตัวได้ในกรอบ 0.5-2.0 เปอร์เซ็นต์ จากเดิมค าดว่าโต 1.5-3 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากผลกระทบต่อเศร ษฐกิจรุนแ รงกว่าที่ค าดไว้
และจะมีการยื่นเรื่องขอให้ภาครั ฐเร่งกระตุ้นเศ รษฐกิจใน 4 เรื่อง ดังนี้
1. เร่งฉี ด วัคซี นให้ได้ตามเป้าหมาย โดยปรับปรุงการสื่อสารกับประชาช นเพื่อลดความสับสน บริหารจัดการมาตรการควบคุมโรคอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
และเร่งฉี ดวัค ซีนในพื้นที่ที่เป็นยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว เพื่อให้สามารถเปิ ดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติได้ในไตรมาสที่ 4
2. เร่งผลักดัน พ.ร.ก.เงินกู้ 7 แสนล้ านบ าท เพื่อให้รั ฐบ าลมีเม็ดเ งินเพียงพอในดำเนินโครงการด้านสาธารณสุข
ด้านการเยี ยวย าชดเช ยให้ประชาช นที่ได้รับผลกระทบ และฟื้นฟูเศ รษฐกิจ
3. เร่งรัดมาตรการช่วยเหลือด้านกำลังซื้ อภาคประชาช นในวงกว้าง โดยเฉพาะโครงการ คนละครึ่งเฟส 3
ให้เข้ามาพยุงกำลังซื้ อได้ในเดือนมิถุนายน และให้พิจารณาเพิ่มวงเงิ นจาก 3,000 บ าท เป็น 6,000 บ าท
4. เสริมมาตรการดึงกำลังซื้ อจากประชาช นที่มีเงิ นออม โดยสนับสนุนมาตรการนำร ายจ่ายจากการซื้ อสิ นค้ าไปหักภาษีเงิ นได้
ในวงเงิ น 30,000-50,000 บ าทต่อร าย เพื่อจูงใจให้ประชาช นในกลุ่มนี้นำเงิ นฝากมาใช้จ่าย
เรียบเรียง siamtoday