บ้ านหลังไหนได้บ้ าง ลดค่ าไฟฟ้า 2 เดือน

ที่ประชุม กบง. ไฟเขียว ลดค่ าไฟ 2 เดือน “พฤษภาคม-มิถุนายน” วงเงิ น 15.04 ล้านบ าท

ช่วยบรรเทาผลกระทบ จากการระบ าดของเชื้ อไวรัสCV-19 ระลอกให ม่ ในเดือนเมษายนที่ผ่านมา

นายสุพัฒนพงษ์​ พันธ์มีเชาว์ รองนายกรั มนตรี และรั ฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน

เปิ ดเผยภายหลังเป็นประธานในการประชุมออนไลน์

คณะกร ร มการบริหารนโยบ ายพลังงาน (กบง.) ว่า​ วันนี้ (14 พ.ค.)

ที่ประชุมได้พิจารณาเห็นว่า สถานการณ์การแพ ร่ระบ าดของเชื้ อไวรัสCV-19

ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย

ดังนั้นเพื่อลดกระทบต่อภาระค่ า ไฟฟ้า ของประชาช น กบง.

Electric power meter measuring power usage. Watt hour electric meter measurement tool with copy space.

จึงได้เห็นชอบมาตรการช่วยเหลือผู้ใช้ไฟฟ้า จากการระบ าดของไวรัสCV-19

ในระลอกเดือนเมษายน 2564 ให้เป็นไปอย่ างครอบคลุม ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้ านอยู่อาศัย

และกิจการขนาดเล็กทั่วประเทศ ให้ได้รับการช่วยเหลือตามหลักการเดียวกัน

กับมติคณะรั ฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคมที่ผ่านมา

ที่ประชุม กบง. เห็นชอบ ลดค่ าไฟ มาตรการช่วยเหลือผู้ใช้ไฟฟ้าให้ครอบคลุมลู กค้ าร า ยย่อยของ

กฟผ. และผู้ใช้ ไฟฟ้า ของกิจการไฟฟ้าสวัสดิการกองทัพเรือเพิ่มเติม

เพื่อให้ครอบคลุมทั่วประเทศ อย่ างเหมาะสม และเป็นธรรม เป็นระยะเวลา 2 เดือน

คือ เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2564 วงเงิ นประมาณ 15.04 ล้านบ าท

ส่วนลดดังกล่าวจะทำให้เงิ นเรียกคืนฐานะการเงิ นจากการไฟฟ้า

ซึ่งมีร ายได้มากกว่าที่ควรได้รับในปี 2564 มีจำนวนลดลง

นายสุพัฒนพงษ์​ กล่าวว่า​ ที่ประชุม​ กบง.ยัง ได้รับทร าบมาตรการช่วยเหลือด้านพลังงาน

ไฟฟ้า สำหรับประชาช น สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าของ กฟน. และ กฟภ. ตามหลักการที่

ครม. ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคมที่ผ่านมา เป็นระยะเวลา 2 เดือน

คือ เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2564 ในวงเงิ นประมาณ 8,755 ล้านบ าท

อีกทั้งยังรับทร าบแนวทางของ กกพ. ในการยกเว้นการเรียกเก็บค่ าไฟฟ้าขั้นต่ำ (Minimum Charge)

สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท 3-7 โดยให้ผู้ใช้ไฟฟ้า จ่ายค่ าไฟฟ้าตามจริง

เป็นระยะเวลา 2 เดือน (เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2564)

โดยให้ กกพ. พิจารณาดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป

ที่ประชุม​ กบง. ยังรับทร าบ แนวทางการบริหารจัดการกำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง

(Reserve Margin) ของประเทศ ตามข้อเสนอของ

คณะทำงานบริหารจัดการกำลังผลิตไฟฟ้าสำรองของประเทศ และได้มอบหมายให้

สำนักงานนโยบ ายและแผนพลังงาน (สนพ.) สำนักงานคณะกร ร มการกำกับกิจการพลังงาน

(สำนักงาน กกพ.) และ กฟผ. ร่วมกันพิจารณาทบทวนสมมติฐาน

การกำหนดค่ ากำลังผลิตพึ่งได้ (Dependable Capacity) ของโรงไฟฟ้าของ กฟผ.