เร าช นะ ม.33 จ่ ายรวดเร็ว ช่วยประชาช นมากถึง 41 ล้ านคน

วันที่ 9 พฤษภาคม น.ส.กุลย า ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศร ษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง

กล่าวว่า จากสถ านก ารณ์การ CV-19 ในระลอกเดือนเมษายน 2564 ที่ได้ทวีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ทำให้ภาครั ฐจำเป็นต้องควบคุมสถ านก ารณ์ และเตรียมความพร้อมของมาตรการบรรเทาผลกระทบต่อประชาช นและผู้ประกอบการ

รวมถึงผู้ประกอบการร้ านอาหาร ในระยะเร่งด่วนดังกล่าว รวมทั้งมาตรการสำหรับกระตุ้นเศร ษฐกิจ

ในระยะต่อไปเมื่อสถ านก ารณ์คลี่คลายจนอยู่ในระดับที่สามารถดำเนินมาตรการกระตุ้นเศ รษฐ

กิจในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศได้

ภายใต้ข้อจำกัดจากสถ านก ารณ์ตามที่กล่าวข้างต้น เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2564 ค ณะรั ฐมนต รี (ครม.)

จึงได้พิจารณาใช้มา ตรการเยี ยวย าที่ดำเนินการอยู่แล้วและยังไม่สิ้ นสุดโครงการ ได้แก่ โค รงการเร าช นะ

และโค รงการ ม.33 เร ารักกัน โดยเพิ่มวงเงิ นให้อีกสัปดาห์ละ 1,000 บ าท

เป็นเวลา 2 สัปดาห์เพื่อช่วยบรรเทาภาระค่ าครองชีพแก่ประชาช น

โดยปัจจุบันทั้งสองโค รงการมีผู้ผ่านการคัดกรองคุณสมบัติและได้รับสิ ทธิ์รวมกันประมาณ 41 ล้ านคน

ซึ่ งสามารถช่วยเหลือประชาช นได้ครอบคลุมประชาช นส่วนให ญ่ของประเทศที่ได้รับความเดื อดร้ อนแล้ว

ทั้งนี้ การเพิ่มวงเงิ นให้แก่ผู้ได้รับสิ ทธิ์ทั้งสองโค รงการจะทำให้การช่วยเหลือประชาช นเป็นไปด้วยความรวดเร็ว

กว่าการให้ความช่วยเหลือแบบเฉพาะเจาะจงพื้นที่ เนื่ องจากสามารถใช้ประโย ชน์จากฐานข้อมู ลของทั้งสอง

โค รงการที่ภาครั ฐมีอยู่ในปัจจุบันได้ทันที ขณ ะที่การให้ความช่วยเหลือแบบเฉพาะเจาะจงจะต้องทำการสำรวจ

ข้อมู ลให ม่ รวมทั้งตรวจสอบและคัดกรองผู้ได้รับผลกระทบ จึงต้องใช้ระยะเวลาดำเนินการนานกว่า

นอกจากนี้ การเพิ่มวงเงิ น ช่วยเหลือเพื่อบรรเทาภาระค่ าครองชีพให้แก่ผู้ได้รับสิทธิดังกล่าวยังจะช่วย

กระตุ้นการใช้จ่ายในระบบเศ รษฐกิจฐานร ากจากร้ านค้าต่าง ๆ ซึ่ งส่วนใหญ่เป็นธุรกิจร ายย่อย

รวมถึงผู้ประกอบการร้ านอาหาร จึงเป็นการช่วยเหลือผู้ประกอบร ายย่อยในท้องที่อย่ างรวดเร็วและ

มีประสิทธิภาพสำหรับโค รงการคนละครึ่งเฟส 3 เป็นหนึ่งในมา ตรการเพื่อฟื้ นฟูเศร ษฐกิจในระยะต่อ

ไปเมื่อสถ านกา รณ์การ คลี่คลายลง โดยในเบื้ องต้นคาดว่าจะดำเนินการในช่วงเดือนกรกฎาคม 2564

เพื่ออัดเม็ดเงิ นในระบบเศร ษฐกิจในช่วงครึ่งหลังของปี 2564ในส่วนของมาตรการด้านการเงิ น

ค ณะรั ฐมนตรีในคราวการประชุมเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2564 ได้มีมติเห็นชอบ 2 มาตรการ ได้แก่

มาตรการสิ นเชื่ อสู้ภัยCV-19 วงเ งินรวม 20,000 ล้ านบ าท เพื่อเพิ่มสภาพคล่องชั่ วคร าวในการดำรง

ชีวิ ตให้แก่ประชาช นและบรรเทาความเดื อดร้ อนจากCV-19 ทั้งผู้ที่มีร ายได้ประจำ กลุ่มอาชีพอิสระ

ผู้ประกอบการร ายย่อย รวมไปถึงเกษ ตรกรและผู้ประกอบการร้ านอาหารร ายย่อย โดยธนาค ารออมสินและ

ธนาค ารเพื่อการเกษ ตรและสหก รณ์การเก ษตรให้สิ นเชื่ อแก่ประชาช นร ายละ 10,000 บ าท

ด้วยหลักเก ณฑ์ที่ผ่อนปรนกว่าสิ นเชื่ อปกติ ดอกเบี้ ย 0.35% ต่อเดือน เป็นระยะเวลา 3 ปี ปลอดชำระทั้งเงิ นต้นและด อกเบี้ยใน 6 เดือนแรก

รวมทั้ง มาต รการพักชำระหนี้ของสถ าบันการเงิ นเฉพาะกิจ โดยให้สถ าบันการเงิ นเฉพาะกิจขยายระยะเวลาพักชำระหนี้

โดยการพักชำระเงิ นต้นให้แก่ลูกหนี้ตามความสมัครใจของลูกหนี้ ออกไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2564

นอกจากนี้ รั ฐบ าลยังได้ออกพระร าชกำหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้ นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบ

พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย 2 มา ตรการ ดังนี้ 1.มาตรการสนับสนุนการให้สิ นเชื่ อแก่ผู้ประกอบธุรกิจ

หรือมา ตรการ สิ นเชื่ อฟื้ นฟู วงเงิน 250,000 ล้ านบ าท และ 2.มา ตรการพักท รั พย์ พักหนี้ วงเงิ น 100,000 ล้ านบ าท

ในส่วนของมา ตรการด้านภาษี รั ฐบ าลได้ออกมา ตรการเลื่อนเวลาการชำระภาษีเงิ นได้นิติบุคคลไปเป็นภาย

ในวันที่ 30 มิถุนายน 2564 ซึ่ งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการและผู้ทำบัญชีที่ได้รับผล

กระทบจากระลอกใหม่ที่ครอบคลุมทั่วประเทศและสนับสนุนการทำธุรกรรมภาษีทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงช่วยลดความแออัด

อีกทั้งช่วยเพิ่มสภ า พคล่องในมือผู้ประกอบการให้มีมากขึ้นและนานขึ้น

ทั้งนี้ ผู้ประกอบการร้ านอาหารสามารถใช้ประโยชน์จากม าตรการต่าง ๆ ได้ ตามหลักเก ณฑ์ที่กำหนด

ที่มา matichon