จี้ รบ.เ ร่งอัดม าตรก ารเยี ยวย าในพื้นที่ล็ อกด าวน์โซนสีแดง

ส.อ.ท.เสนอรั ฐใช้ม าตรก ารล็อกด าวน์พื้นที่เสี่ ยงคุมวิกฤตcv ออกม าตรก ารเยี ยวย าประชาช น

พยุงเศร ษฐกิ จ ขณะที่ดัชนีเชื่ อมั่นอุตฯโตส วนทางเป็นเดือนที่ 2

น ายสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธ านสภาอุตสาหกร รมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิ ดเผยว่า ส.อ.ท.

จัดทำข้อเสนอแนะต่อภ าครั ฐต่อสถ านก ารณ์ประเทศ โดยเอ กช นต้องก ารให้ดำเนินก ารดังนี้

1. ขอให้ภ าครั ฐเร่งควบคุมสถ านก ารณ์ก ารแพ ร่ระบ าดของcvระลอกให ม่ให้ได้โดยเร็ว โดยใช้

ม าตรก ารล็อกด าวน์เฉพ าะพื้นที่ที่มีความเสี่ ยงและมีก ารแพ ร่ระบ าดสูง

2. เร่งรัดก ารฉีดวั คซี น cv

ให้กับประชาช นเพื่อควบคุมก ารแพ ร่ระบ าด ร วมทั้งสร้ างความเชื่ อมั่นให้กับประชาช นเกี่ ยวกับความปล อดภั ยของวั คซี น

3. สนับสนุนให้เอ กช นนำเข้ าวั คซี นที่ได้ขึ้นทะเบี ยนกับ อย.แล้ว เพื่อช่ วยให้ก ารฉีดวั คซี นเร็วขึ้น

4. ขอให้ภ าครั ฐดำเนินม าตรก ารกระตุ้นเศร ษฐกิ จและเยี ยวย าผู้ได้รับผลกระทบจ ากcvเพื่อช่วยฟื้นฟูเศร ษฐกิ จอย่ างต่อเนื่อ

5. เร่งแ ก้ไขปั ญห าก ารเข้ าถึงแหล่งเงิ นกู้ของผู้ประกอบก ารโดยเฉพ าะผู้ประกอบก ารขน าดกล างและขน าดย่อม (SMEs)

6. เร่งแ ก้ไขปั ญห าก ารข าดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ที่ยังเป็นปั ญห าต่อเนื่ องเพื่อช่ วยเหลือผู้ส่งออก

สำหรับผลก ารสำร วจดัชนีความเชื่ อมั่นภาคอุตสาหกร รมในเดือนมีน าค ม 2564 อยู่ที่ระดับ 87.3 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจ ากระดับ 85.1

ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 โดยค่ าดัชนีฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นทุกขน าดอุตส าหกร รมและทุกภูมิภ าค

มีปัจจัยสนับสนุนจ ากอุปส งค์ในประเทศและต่ างประเทศขย ายตัวต่อเนื่ อง ส่งผลดีต่อภ าคก ารผลิต

รวมทั้งก ารผ่ อนคล ายม าตรก ารควบคุมcv ทำให้กิจกร รมทางเศร ษฐกิ จเพิ่มขึ้น ขณะที่ม าตรก ารกระตุ้นเศร ษฐกิ จของภ าครั ฐ

ที่ดำเนินก ารอย่ างต่อเนื่ องช่ วยกระตุ้นก ารใช้จ่ ายและก ารบริโ ภคในประเทศ

นอกจ ากนี้ผู้ประกอบก ารเร่งผลิตสิ นค้ าก่อนวันหยุดย าวในช่ วงเทศก าลสงกร านต์

อย่ างไรก็ต ามด้ านก ารส่งออกมีคำสั่งซื้อเพิ่มขึ้นต ามทิศทางเศร ษฐกิ จโลกที่มีแนวโน้มฟื้นตัว โดยเฉพ าะในกลุ่ มสิ นค้ าย านยนต์และชิ้ นส่วนฯ

เครื่ องใช้ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์และส่ วนประกอบ เคมีภัณฑ์ และน้ำมันสำเร็จรูป นอกจ ากนี้ ความคืบหน้ าเกี่ ยวกับก ารฉีดวั คซี นในหล ายประเทศ

รวมทั้งม าตรก ารกระตุ้นเศร ษฐกิ จของประเทศเศร ษฐกิ จขนาดใหญ่ อาทิ สหรั ฐฯ จีนและยุโรป ช่ วยสนับสนุนให้เศร ษฐกิ จโลกมีทิศทางที่ดีขึ้น

ทั้งนี้จ ากก ารสำร วจผู้ประกอบก าร 1,351 ร าย ครอบคลุม 45 กลุ่มอุตสาหกร รมทั่วประเทศในเดือนมีน าค ม 2564 พบว่า

ปัจจัยที่ส่งผลให้ผู้ประกอบก ารมีความกังวลเพิ่มขึ้น ได้แ ก่ ร าค าน้ำมัน ร้อยละ 51.2 และสถ านก ารณ์ทางก ารเมื องในประเทศ ร้อยละ 46.1

ส่วนปัจจัยที่ส่งผลให้ผู้ประกอบก ารมีคว ามกังวลลดลง ได้แ ก่ สภ าวะเศร ษฐกิ จโลก ร้อยละ 63.2, อัตร าแลกเปลี่ ยน

(มุมมองผู้ส่งออก) โดยอัตร าแลกเปลี่ ยนอ้ างอิงค่าเงิ นบ าทเที ยบกับดอลลาร์สหรั ฐฯ ร้อยละ 52.0

และอัตร าดอกเบี้ ยเงิ นกู้ ร้อยละ 33.5 ต ามลำดับ

สำหรับดัชนีฯ ค าดก ารณ์ 3 เดือนข้ างหน้ าปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ 94.0 จ ากระดับ 92.0 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564

เนื่องจ ากผู้ประกอบก ารมีความเชื่ อมั่นว่าความคืบหน้ าในก ารฉีดวั คซี นcv ในหล ายประเทศ

ตลอดจ นม าตรกระตุ้นเศร ษฐกิ จของประเทศต่ างๆ จะช่ วยให้เศร ษฐกิ จก ารค้ าโลกฟื้นตัวต่อเนื่ อง นอกจ ากนี้

ก ารผ่ อนปรนม าตรก ารควบคุมก ารเดินทางเข้ าประเทศของนักท่องเที่ ยวต่ างชาติจะช่ วยสนับสนุนก ารฟื้นตัวของเศร ษฐกิ จในระยะต่อไป

ข้อมูลposttoday