ดีเดย์ 5 เม.ย. วิ่งไห ล่ทางบนทางด่ วนถูกปรับ 1,000 บ าท “ก ารทางพิเศษ” ลุยติดกล้องสแ กนรถจุดเกิ ดอุบัติเห ตุบ่อย
ประส าน “ตำรวจ” ส่งใบสั่งถึงบ้ าน ยังไม่ชัดอนุโลมชั่วโมงเร่งด่ วนหรือไม่ จ่อแ ก้กฎกระทร วงกำกับความเร็วให ม่
บนทางยกระดับ 100 กม./ชม. ทางร าบ 110 กม./ชม.ค าดบังคับใช้ปีนี้
เมื่อวันที่ 2 เม.ย. 2564 น ายสุรเชษฐ์ เหล่ าพูนสุข ผู้ว่าก ารก ารทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) เปิ ดเผยว่า
ได้ร่วมกับกองบังคับก ารตำรวจจร าจร (บก.จร.) และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (สตช.) ในก ารออกม าตรก ารความปล อดภั ยบนทาง
พิเศษด้วยกล้องตร วจจับความเร็วและกล้องตร วจจับรถยนต์วิ่งไห ล่ทางซ้ าย (ช่องทางฉุ กเฉิ น) รวมถึงก ารบังคับใช้กฎหม าย
วิ่งไหล่ทางทำเกิ ดอุบั ติเห ตุอื้อ 800 ครั้ง
จ ากข้อมูลของ กทพ. เก็บข้อมูลระบบงานเห ตุก ารณ์บนทางพิเศษ (TFC) พบว่าสถิติก ารเกิ ดอุบั ติเห ตุบนทางด่ วนในปีงบประม าณ 2563
มีมากกว่า 800 ครั้ง ส่งผลให้มีผู้บ าดเจ็บมากกว่า 440 ร าย และเสี ยชีวิ ต จำนวน 7 ร าย
“เกื อบ 50% ของอุบั ติเห ตุมีส าเห ตุมาจ ากพฤติกร รมของผู้ขับขี่ อาทิ ก ารใช้ความเร็วสูง ก ารเปลี่ ยนช่องทางกะทันหัน และก ารวิ่งบนไหล่ทาง เป็นต้น“
จ่อแ ก้ปรับความเร็วบนทางด่ วนให ม่
สำหรับบนทางด่ วนจะใช้ พ.ร.บ.จร าจรทางบก 2522 ในก ารบังคับ ทั้งนี้กำลังมีก ารปรับปรุงความเร็วให ม่ โดยออกเป็นกฎกระทร วง
อยู่ระหว่ างเสนอเข้ าสู่ที่ประชุมคณะรั ฐมนตรี (ครม.) ค าดว่าจะมีผลบังคับใช้ภ ายในปีนี้
“จะเป็นก ารกำหนดอัตร าความเร็วใน 2 ระดับ
1.ทางยกระดับกำหนดให้ใช้ความเร็วที่ไม่เกิน 100 กม./ชม.
และ
2.ระดับพื้นดินพื้นร าบ ให้ใช้ความเร็วไม่เกิน 110 กม./ชม. ซึ่งในภ าคปฏิบัติจะมีตำรวจคอยก วดขัน”
เค าะติดป้ ายเตื อน-กล้องจับ
ทั้งนี้เพื่อเป็นก ารป้องกันอุบั ติเห ตุ กทพ. และตำรวจ จึงมีม าตรก ารสำคัญที่จะขับเคลื่ อนในช่วงปีงบประม าณ 2563-2565 ประกอบด้วย 2 ม าตรก าร คือ
1.ก ารติดตั้งป้ายแจ้ งเตื อนความเร็ว (Your Speed Sign) ที่ทำงานควบคู่ไปกับกล้องตร วจจับความเร็ว
เพื่อให้ผู้ใช้ทางด่ วนใช้ความเร็วต ามที่กฎหม ายกำหนด โดย กทพ. ได้ดำเนินก ารติดตั้งทั้งสิ้ น 17 จุด
บนทางด่วน 4 สายทาง ซึ่ง กทพ. ได้ดำเนินก ารติดตั้งแล้วเสร็จในเดือน ก.พ. 2564 จำนวน 2 เส้นทาง
คือ สายบูรพาวิถี จำนวน 4 จุด และสายเฉลิมมหานครจำนวน 5 จุด
อีก 2 เส้นทางที่อยู่ในระหว่ างก ารดำเนินก ารประกอบด้วย สายก าญจน าภิเษก ช่วงบ างพลี-สุขสวั สดิ์ จำนวน 4 จุด
จะแล้วเสร็จในเดือน ก.ย. 2564 เเละทางพิเศษฉลองรัช จำนวน 4 จุด จะแล้วเสร็จเดือน ก.ย. 2565
ลุยติดตั้งกล้องอีก 3 สายทางเสร็จปล ายปี
และ 2.ก ารติดตั้งกล้องตรวจจับรถยนต์วิ่งไหล่ทางซ้าย (ช่องทางฉุ กเฉิ น) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิ ดอุบั ติเห ตุในไหล่ทางโดย กทพ.
จะดำเนินก ารติดตั้ง จำนวน 32 จุด บนทางพิเศษ 4 สายทาง ซึ่ง กทพ. ได้ดำเนินก ารแล้วเสร็จในเดือน ธ.ค. 2563
จำนวน 1 เส้นทาง คือทางพิเศษก าญจน าภิเษก (บ างพลี-สุขสวั สดิ์) จำนวน 10 จุด
ส่วนอีก 3 เส้นทาง อยู่ในระหว่างก ารดำเนินก าร ค าดว่าจะแล้วเสร็จในปล ายปี 2564 ประกอบด้วย ทางพิเศษเฉ ลิมมหานคร
จำนวน 6 จุด ทางพิเศษฉลองรัช จำนวน 8 จุด และทางพิเศษบูรพาวิถี จำนวน 8 จุด ค าดว่าจะใช้งบดำเนินการประม าณ 20-
30 ล้ านบ าท ในก ารติดตั้งกล้องในจุดที่เหลือ
ทั้งนี้ ในส่วนของทางพิเศษที่มีเอ กช นร่วมดำเนินก าร กทพ. ได้ประสานให้มีก ารติดตั้งกล้องตร วจจับความเร็ว
และกล้องตร วจจับรถยนต์วิ่งไหล่ทางซ้าย (ช่องทางฉุ กเฉิ น) เช่ นกัน ซึ่งสายบ างปะอิน-ปากเกร็ดจะเสร็จกลางปีนี้ ส่วนทางด่วนขั้นที่ 2 หรือศรีรัช จะเสร็จปลายปีนี้
คิกออฟจับปรับ 5 เม.ย.
“ขั้นตอนก ารดำเนินงาน กทพ. จะรวบรวมข้อมูลผู้กระทำผิ ดพร้อมไฟล์ภ าพจัดส่งให้เจ้าหน้ าที่ตำรวจเพื่อดำเนินก ารต าม
ขั้นตอนของกฎหม ายต่อไป ซึ่งน่าจะเริ่ มต้นในวันที่ 5 เม.ย. 2564 นี้”
วิ่งไห ล่ทางปรับ 1,000 บ าท
สำหรับผู้ฝ่าฝืน มีโทษต ามกฎหม าย พ.ร.บ.จร าจรทางบก 2522 มีระบุในมาตร า 103 ว่า “ทางใดที่มีทางเท้าหรือไหล่ทางอยู่ข้ างทางเดินรถ
ให้คนเดินเท้ าเดินบนทางเท้ าหรือไหล่ทาง ถ้าทางนั้นไม่มีทางเท้ าอยู่ข้ างทางเดินรถให้เดินริมทางด้านขวาของตน” ประกอบมาตร า 33
จึงมีความผิ ดต ามมาตร า 139 ฝ่าฝืนคำสั่งเจ้ าพนักงานจร าจร มีอัตร าโทษปรับไม่เกิน 1,000 บ าท
ส่วนร ายละเอี ยดก ารใช้ทาง กรณีฉุ กเฉิ นจะไม่ถือว่าเข้ าข่ ายต้องบังคับใช้กฎหม าย ส่วนต้องผิ ดกี่ครั้งจึงจะตัดแ ต้มยังต้องหารือกับตำรวจอีกก่อน
รวมถึงก ารบริหารจัดก ารในช่ วงชั่วโมงเร่งด่ วนเช้ า – เย็น ส่วนใหญ่จะเกิ ดปั ญห าก ารจร าจรติดขัด และจะมีเจ้ าหน้ าที่ตำรวจอำนวยความสะดวก
ก็กำลังหารือและดำเนินก ารกันอยู่ จะผ่อนผันกันอย่ างไรต่อไป
ข้อมูลprachachat